Signing Ceremony of Memorandum of Understanding (MOU) – African Horse Sickness Eradication / Public Private Partnership (PPP)

14 July 2020, National Institute of Animal Health, Bangkok Thailand.

สมาคมกีฬาขี่ม้าแห่งประเทศไทย ร่วมกับกรมปศุสัตว์ ผนึกกำลัง 16 หน่วยงาน ได้แก่ 1. กรมปศุสัตว์ 2. กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช 3. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น 4. กรมประชาสัมพันธ์ 5. สัตวแพทยสภา 6. สมาคมสัตวแพทย์สวนสัตว์และสัตว์ป่า 7. ภาคีคณบดีคณะสัตวแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย 8. องค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูปถัมภ์ 9. สถานเสาวภา 10. สภากาชาดไทย 11. สมาคมกีฬาขี่ม้าแห่งประเทศไทย 12. สมาคมกีฬาม้าแข่งไทย 13. สมาคมกีฬาขี่ม้าโปโลแห่งประเทศไทย 14. กรมการสัตว์ทหารบก 15. หน่วยม้าทรงประจำพระองค์ฯ 16. กองพันทหารม้าที่ 29 รักษาพระองค์กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ 17. ชมรมสัตวแพทย์บำบัดโรคม้า และ 18. มูลนิธิม้าไทย ลงนาม MOU กำจัดโรคกาฬโรคแอฟริกาในม้า เร่งคืนสถานภาพปลอดโรคในไทยวันนี้ (14 กรกฎาคม 2563) สมาคมกีฬาขี่ม้าแห่งประเทศไทย ร่วมกับกรมปศุสัตว์ และภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งสิ้น 18 หน่วยงาน ร่วมลงนามบันทึกความร่วมมือ (MOU) การกำจัดโรคกาฬโรคแอฟริกาในม้า (African Horse Sickness) ในประเทศไทย โดยบูรณาการความร่วมมือ ภายใต้แผนปฏิบัติการการกำจัดโรคกาฬโรคแอฟริกาในม้า เพื่อคืนสถานภาพปลอดโรคจากองค์การสุขภาพสัตว์โลก (OIE) ของประเทศไทย โดย มร. ฮาราลด์ ลิงค์ นายกสมาคมกีฬาขี่ม้าแห่งประเทศไทย นำทัพการขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ ร่วมกับสมาชิกสมาคมฯ อย่างเต็มที่

EQUESTRIAN SEMINAR for the 10th generation of military coaching and training program 2020

Date: 1 July 2020Time: 8.30am – 4pm Location: Calvary Center, Saraburi

EQUESTRIAN SEMINAR for the 10th generation of military coaching and training program 2020 Date: 1 July 2020Time: 8.30am – 4pm Location: Calvary Center, Saraburi Attendees: 25 -30 pax Topic of discussion: About FEI, AEF, SEAEF, and TEF / General information and updated rules of equestrian, National & International Competitions of both Olympic disciplines (Dressage, Jumping &Eventing) and Non-Olympic Disciplines (Endurance, Reining & etc) / VDO session and etc.

ประชาสัมพันธ์และให้ความรู้เกี่ยวกับมาตรการป้องกัน โรคกาฬโรคแอฟริกาในม้า (AHS:African Horse Sickness)

23 มิถุนายน 2563 ณ สโมสรไทยโปโล แอนด์ อีเควียสเตรียนคลับ พัทยา

วันนี้ ทางหน่วยม้าทรงประจำพระองค์ฯ กรมปศุสัตว์ และสมาคมกีฬาขี่ม้าแห่งประเทศไทย ได้ร่วมกันประชาสัมพันธ์และให้ความรู้เกี่ยวกับมาตรการป้องกัน โรคกาฬโรคแอฟริกาในม้า (AHS:African Horse Sickness) โดยเน้นย้ำให้ตะหนักถึง การสร้างมุ้งป้องกันแมลง ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ แมลงดูดเลือดที่เป็นพาหนะนำโรคสู่ม้า พร้อมทั้งนำเครื่องมือฉีดพ่นสารฆ่าเชื้อโรคบริเวณ สโมสรไทยโปโล แอนด์ อีเควียสเตรียนคลับ พัทยา

สถานการณ์การระบาดของโรคระบาด”กาฬโรคในม้า (African Horse Sickness)” ประจำวันที่ 15 มิถุนายน 2563

❗️พบการตายเพิ่มของม้าในจังหวัดใหม่ (นนทบุรี 1 ตัว)

‼️แต่ก็มีบางจังหวัดหรือบางพื้นที่ ที่จำนวนการตาย”ไม่” เพิ่มขึ้น เป็นเวลาอย่างต่อเนื่องเช่นกัน เช่น ชัยภูมิ ชลบุรี สระแก้ว ราชบุรี และ ประจวบคีรีขันธ์

‼️❗️อย่างไรก็ตามควรตระหนัก ถึงการเฝ้าระวัง ป้องกันแมลงดูดเลือด กางมุ้ง และยังคงต้องงดการเคลื่อนย้ายโดดเด็ดขาด เพื่อให้ม้าทุกตัวปลอดภัย

‼️‼️จำนวนการใช้วัคซีนที่ปรากฏใน Info Graphic ดังกล่าว เป็นการใช้ในเขตพื้นที่เกิดโรคระบาด คือ 1. จุดเกิดโรค (Infected zone 20 km / วงไข่แดง) และ 2. พื้นที่ควบคุม (Protection zone 50 km /วงไข่ขาว) ตามมาตรการของกรมปศุสัตว์เท่านั้น

**หมายเหตุ**….
🐎📕 ม้าสีแดง
– พื้นที่ที่มีม้าเสียชีวิตจากโรคระบาด African Horse Sickness Outbreak Area

📒 ม้าสีเหลือง
– พื้นที่ที่มีม้าเสียชีวิต และรอผลชันสูตร
– พื้นที่ที่มีการเคลื่อนย้ายม้าจากจุดที่มีการแพร่ของโรคระบาด
– พื้นที่ที่มีการตรวจสอบพบว่ามีการเคลื่อนย้ายม้าจากจุดแพร่ระบาดของโรค และยังอยู่ในระยะเฝ้าระวัง หากพ้นระยะเฝ้าระวัง(2-20 วัน)แล้ว ไม่มีการรายงาน การพบโรคระบาดในพื้นที่ดังกล่าว สัญลักษณ์ม้าสีเหลืองจะถูกนำออกจากแผนที่ แต่หากพบหรือมีผลการตรวจเป็นโรค AHS สัญลักษณ์ม้าจะถูกเปลี่ยนเป็นสีแดงทันที
Suspected Outbreak Area

ข้อมูล: กรมปศุสัตว์ /สโมสร ชมรมกีฬาขี่ม้าแห่งประเทศไทย / กลุ่มผู้เลี้ยงม้า **Remark** (updated and published on 15 June 2020)

สถานการณ์การระบาดของโรคระบาด”กาฬโรคในม้า (African Horse Sickness)” ประจำวันที่ 24 พฤษภาคม 2563

โดยมีรายระเอียดเป็นข้อสรุปดังนี้

! วันที่ 24 พฤษภาคม 2563 พบการตายเพิ่มของม้าในบางจังหวัด (นครราชสีมา จำนวน 1ตัว, เพชรบุรี จำนวน 1 ตัว และสระบุรี จำนวน 1 ตัว )

!! แต่ก็มีบางจังหวัดหรือบางพื้นที่ ที่จำนวนการตาย”ไม่” เพิ่มขึ้น เป็นเวลาอย่างต่อเนื่องเช่นกัน เช่น ชัยภูมิ ชลบุรี สระแก้ว ราชบุรี และ ประจวบคีรีขันธ์

!!! อย่างไรก็ตามควรตระหนัก ถึงการเฝ้าระวัง ป้องกันแมลงดูดเลือด กางมุ้ง และยังคงต้องงดการเคลื่อนย้ายโดดเด็ดขาด เพื่อให้ม้าทุกตัวปลอดภัย

!!!! จำนวนการใช้วัคซีนที่ปรากฏใน Info Graphic ดังกล่าว เป็นการใช้ในเขตพื้นที่เกิดโรคระบาด คือ 1. จุดเกิดโรค (Infected zone 20 km / วงไข่แดง) และ 2. พื้นที่ควบคุม (Protection zone 50 km /วงไข่ขาว) ตามมาตรการของกรมปศุสัตว์เท่านั้น (อัพเดทวันที่ 13 พฤษภาคม 63)

**หมายเหตุ**….
📕จุดสีแดง- พื้นที่ที่มีม้าเสียชีวิตจากโรคระบาด African Horse Sickness Outbreak Area

📒จุดสีเหลือง- พื้นที่ที่มีม้าเสียชีวิต และรอผลชันสูตร- พื้นที่ที่มีการเคลื่อนย้ายม้าจากจุดที่มีการแพร่ของโรคระบาด- พื้นที่ที่มีการตรวจสอบพบว่ามีการเคลื่อนย้ายม้าจากจุดแพร่ระบาดของโรค และยังอยู่ในระยะเฝ้าระวัง หากพ้นระยะเฝ้าระวัง(2-20 วัน)แล้ว ไม่มีการรายงาน การพบโรคระบาดในพื้นที่ดังกล่าว สัญลักษณ์ม้าสีเหลืองจะถูกนำออกจากแผนที่ แต่หากพบหรือมีผลการตรวจเป็นโรค AHS สัญลักษณ์ม้าจะถูกเปลี่ยนเป็นสีแดงทันทีSuspected Outbreak Areaข้อมูล: กรมปศุสัตว์ /สโมสร ชมรมกีฬาขี่ม้าแห่งประเทศไทย / กลุ่มผู้เลี้ยงม้า **Remark** (updated and published on 25 May 2020)

การตรวจเยี่ยมชมรมและสโมสรของสมาคมฯ วันศุกร์ที่ 22 พฤษภาคม 2563 เวลา 11.30 น. ณ สโมสรขี่ม้า NP Equestrian Club by Mana

หน่วยม้าทรงประจำพระองค์ฯ สมาคมกีฬาขี่ม้าแห่งประเทศไทย และกรมปศุสัตว์ ได้ร่วมกันประชาสัมพันธ์และให้ความรู้เกี่ยวกับมาตรการป้องกันการ แพร่ระบาดของโรคกาฬโรคแอฟริกาในม้า (African Horse Sickness) โดยเน้นย้ำให้ประชาชนตะหนักถึง การสร้างมุ้งป้องกันแมลง ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ แมลงดูดเลือดที่เป็นพาหนะนำโรคสู่ม้า พร้อมทั้งนำเครื่องมือฉีดพ่นสารฆ่าเชื้อโรคบริเวณฟาร์มม้า ให้แก่ สโมสรขี่ม้า NP Equestrian Club by Mana

การตรวจเยี่ยมชมรมและสโมสรของสมาคมฯ วันศุกร์ที่ 22 พฤษภาคม 2563 เวลา 9.00 น. ณ สโมสรขี่ม้า New Equestrian Society Club

หน่วยม้าทรงประจำพระองค์ฯ สมาคมกีฬาขี่ม้าแห่งประเทศไทย และกรมปศุสัตว์ ได้ร่วมกันประชาสัมพันธ์และให้ความรู้เกี่ยวกับมาตรการป้องกันการ แพร่ระบาดของโรคกาฬโรคแอฟริกาในม้า (African Horse Sickness) โดยเน้นย้ำให้ประชาชนตะหนักถึง การสร้างมุ้งป้องกันแมลง ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ แมลงดูดเลือดที่เป็นพาหนะนำโรคสู่ม้า พร้อมทั้งนำเครื่องมือฉีดพ่นสารฆ่าเชื้อโรคบริเวณฟาร์มม้า ให้แก่ สโมสรขี่ม้า New Equestrian Society Club

สถานการณ์การระบาดของโรคระบาด”กาฬโรคในม้า (African Horse Sickness)” ประจำวันที่ 19 พฤษภาคม 2563 และวันที่ 21 พฤษภาคม 2563

โดยมีรายระเอียดเป็นข้อสรุปดังนี้

! วันที่ 19 พฤษภาคม 2563 พบการตายเพิ่มของม้าในบางจังหวัด (สระบุรี จำนวน 1 ตัว) และจังหวัดในใหม่ (ฉะเชิงเทรา 2 ตัว และนครนายก 2 ตัว)

! วันที่ 21 พฤษภาคม 2563 พบการตายเพิ่มของม้าในบางจังหวัด (นครราชสีมา จำนวน 1 ตัว) และมีเขตพื้นที่ระบาดและเฝ้าระวังเพิ่มเติม

!! แต่ก็มีบางจังหวัดหรือบางพื้นที่ ที่จำนวนการตาย”ไม่” เพิ่มขึ้น เป็นเวลาอย่างต่อเนื่องเช่นกัน เช่น ชัยภูมิ ชลบุรี สระแก้ว ราชบุรี และ ประจวบคีรีขันธ์

!!! อย่างไรก็ตามควรตระหนัก ถึงการเฝ้าระวัง ป้องกันแมลงดูดเลือด กางมุ้ง และยังคงต้องงดการเคลื่อนย้ายโดดเด็ดขาด เพื่อให้ม้าทุกตัวปลอดภัย

!!!! จำนวนการใช้วัคซีนที่ปรากฏใน Info Graphic ดังกล่าว เป็นการใช้ในเขตพื้นที่เกิดโรคระบาด คือ 1. จุดเกิดโรค (Infected zone 20 km / วงไข่แดง) และ 2. พื้นที่ควบคุม (Protection zone 50 km /วงไข่ขาว) ตามมาตรการของกรมปศุสัตว์เท่านั้น (อัพเดทวันที่ 13 พฤษภาคม 63)

**หมายเหตุ**….
🐎📕 ม้าสีแดง- พื้นที่ที่มีม้าเสียชีวิตจากโรคระบาด African Horse Sickness Outbreak Area

🐎📒 ม้าสีเหลือง- พื้นที่ที่มีม้าเสียชีวิต และรอผลชันสูตร- พื้นที่ที่มีการเคลื่อนย้ายม้าจากจุดที่มีการแพร่ของโรคระบาด- พื้นที่ที่มีการตรวจสอบพบว่ามีการเคลื่อนย้ายม้าจากจุดแพร่ระบาดของโรค และยังอยู่ในระยะเฝ้าระวัง หากพ้นระยะเฝ้าระวัง(2-20 วัน)แล้ว ไม่มีการรายงาน การพบโรคระบาดในพื้นที่ดังกล่าว สัญลักษณ์ม้าสีเหลืองจะถูกนำออกจากแผนที่ แต่หากพบหรือมีผลการตรวจเป็นโรค AHS สัญลักษณ์ม้าจะถูกเปลี่ยนเป็นสีแดงทันทีSuspected Outbreak Areaข้อมูล: กรมปศุสัตว์ /สโมสร ชมรมกีฬาขี่ม้าแห่งประเทศไทย / กลุ่มผู้เลี้ยงม้า **Remark** (updated and published on 22 May 2020