สถานการณ์การระบาดของโรคระบาด”กาฬโรคในม้า (African Horse Sickness)” ประจำวันที่ 15 มิถุนายน 2563

❗️พบการตายเพิ่มของม้าในจังหวัดใหม่ (นนทบุรี 1 ตัว)

‼️แต่ก็มีบางจังหวัดหรือบางพื้นที่ ที่จำนวนการตาย”ไม่” เพิ่มขึ้น เป็นเวลาอย่างต่อเนื่องเช่นกัน เช่น ชัยภูมิ ชลบุรี สระแก้ว ราชบุรี และ ประจวบคีรีขันธ์

‼️❗️อย่างไรก็ตามควรตระหนัก ถึงการเฝ้าระวัง ป้องกันแมลงดูดเลือด กางมุ้ง และยังคงต้องงดการเคลื่อนย้ายโดดเด็ดขาด เพื่อให้ม้าทุกตัวปลอดภัย

‼️‼️จำนวนการใช้วัคซีนที่ปรากฏใน Info Graphic ดังกล่าว เป็นการใช้ในเขตพื้นที่เกิดโรคระบาด คือ 1. จุดเกิดโรค (Infected zone 20 km / วงไข่แดง) และ 2. พื้นที่ควบคุม (Protection zone 50 km /วงไข่ขาว) ตามมาตรการของกรมปศุสัตว์เท่านั้น

**หมายเหตุ**….
🐎📕 ม้าสีแดง
– พื้นที่ที่มีม้าเสียชีวิตจากโรคระบาด African Horse Sickness Outbreak Area

📒 ม้าสีเหลือง
– พื้นที่ที่มีม้าเสียชีวิต และรอผลชันสูตร
– พื้นที่ที่มีการเคลื่อนย้ายม้าจากจุดที่มีการแพร่ของโรคระบาด
– พื้นที่ที่มีการตรวจสอบพบว่ามีการเคลื่อนย้ายม้าจากจุดแพร่ระบาดของโรค และยังอยู่ในระยะเฝ้าระวัง หากพ้นระยะเฝ้าระวัง(2-20 วัน)แล้ว ไม่มีการรายงาน การพบโรคระบาดในพื้นที่ดังกล่าว สัญลักษณ์ม้าสีเหลืองจะถูกนำออกจากแผนที่ แต่หากพบหรือมีผลการตรวจเป็นโรค AHS สัญลักษณ์ม้าจะถูกเปลี่ยนเป็นสีแดงทันที
Suspected Outbreak Area

ข้อมูล: กรมปศุสัตว์ /สโมสร ชมรมกีฬาขี่ม้าแห่งประเทศไทย / กลุ่มผู้เลี้ยงม้า **Remark** (updated and published on 15 June 2020)

สถานการณ์การระบาดของโรคระบาด”กาฬโรคในม้า (African Horse Sickness)” ประจำวันที่ 24 พฤษภาคม 2563

โดยมีรายระเอียดเป็นข้อสรุปดังนี้

! วันที่ 24 พฤษภาคม 2563 พบการตายเพิ่มของม้าในบางจังหวัด (นครราชสีมา จำนวน 1ตัว, เพชรบุรี จำนวน 1 ตัว และสระบุรี จำนวน 1 ตัว )

!! แต่ก็มีบางจังหวัดหรือบางพื้นที่ ที่จำนวนการตาย”ไม่” เพิ่มขึ้น เป็นเวลาอย่างต่อเนื่องเช่นกัน เช่น ชัยภูมิ ชลบุรี สระแก้ว ราชบุรี และ ประจวบคีรีขันธ์

!!! อย่างไรก็ตามควรตระหนัก ถึงการเฝ้าระวัง ป้องกันแมลงดูดเลือด กางมุ้ง และยังคงต้องงดการเคลื่อนย้ายโดดเด็ดขาด เพื่อให้ม้าทุกตัวปลอดภัย

!!!! จำนวนการใช้วัคซีนที่ปรากฏใน Info Graphic ดังกล่าว เป็นการใช้ในเขตพื้นที่เกิดโรคระบาด คือ 1. จุดเกิดโรค (Infected zone 20 km / วงไข่แดง) และ 2. พื้นที่ควบคุม (Protection zone 50 km /วงไข่ขาว) ตามมาตรการของกรมปศุสัตว์เท่านั้น (อัพเดทวันที่ 13 พฤษภาคม 63)

**หมายเหตุ**….
📕จุดสีแดง- พื้นที่ที่มีม้าเสียชีวิตจากโรคระบาด African Horse Sickness Outbreak Area

📒จุดสีเหลือง- พื้นที่ที่มีม้าเสียชีวิต และรอผลชันสูตร- พื้นที่ที่มีการเคลื่อนย้ายม้าจากจุดที่มีการแพร่ของโรคระบาด- พื้นที่ที่มีการตรวจสอบพบว่ามีการเคลื่อนย้ายม้าจากจุดแพร่ระบาดของโรค และยังอยู่ในระยะเฝ้าระวัง หากพ้นระยะเฝ้าระวัง(2-20 วัน)แล้ว ไม่มีการรายงาน การพบโรคระบาดในพื้นที่ดังกล่าว สัญลักษณ์ม้าสีเหลืองจะถูกนำออกจากแผนที่ แต่หากพบหรือมีผลการตรวจเป็นโรค AHS สัญลักษณ์ม้าจะถูกเปลี่ยนเป็นสีแดงทันทีSuspected Outbreak Areaข้อมูล: กรมปศุสัตว์ /สโมสร ชมรมกีฬาขี่ม้าแห่งประเทศไทย / กลุ่มผู้เลี้ยงม้า **Remark** (updated and published on 25 May 2020)

การตรวจเยี่ยมชมรมและสโมสรของสมาคมฯ วันศุกร์ที่ 22 พฤษภาคม 2563 เวลา 11.30 น. ณ สโมสรขี่ม้า NP Equestrian Club by Mana

หน่วยม้าทรงประจำพระองค์ฯ สมาคมกีฬาขี่ม้าแห่งประเทศไทย และกรมปศุสัตว์ ได้ร่วมกันประชาสัมพันธ์และให้ความรู้เกี่ยวกับมาตรการป้องกันการ แพร่ระบาดของโรคกาฬโรคแอฟริกาในม้า (African Horse Sickness) โดยเน้นย้ำให้ประชาชนตะหนักถึง การสร้างมุ้งป้องกันแมลง ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ แมลงดูดเลือดที่เป็นพาหนะนำโรคสู่ม้า พร้อมทั้งนำเครื่องมือฉีดพ่นสารฆ่าเชื้อโรคบริเวณฟาร์มม้า ให้แก่ สโมสรขี่ม้า NP Equestrian Club by Mana

การตรวจเยี่ยมชมรมและสโมสรของสมาคมฯ วันศุกร์ที่ 22 พฤษภาคม 2563 เวลา 9.00 น. ณ สโมสรขี่ม้า New Equestrian Society Club

หน่วยม้าทรงประจำพระองค์ฯ สมาคมกีฬาขี่ม้าแห่งประเทศไทย และกรมปศุสัตว์ ได้ร่วมกันประชาสัมพันธ์และให้ความรู้เกี่ยวกับมาตรการป้องกันการ แพร่ระบาดของโรคกาฬโรคแอฟริกาในม้า (African Horse Sickness) โดยเน้นย้ำให้ประชาชนตะหนักถึง การสร้างมุ้งป้องกันแมลง ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ แมลงดูดเลือดที่เป็นพาหนะนำโรคสู่ม้า พร้อมทั้งนำเครื่องมือฉีดพ่นสารฆ่าเชื้อโรคบริเวณฟาร์มม้า ให้แก่ สโมสรขี่ม้า New Equestrian Society Club

สถานการณ์การระบาดของโรคระบาด”กาฬโรคในม้า (African Horse Sickness)” ประจำวันที่ 19 พฤษภาคม 2563 และวันที่ 21 พฤษภาคม 2563

โดยมีรายระเอียดเป็นข้อสรุปดังนี้

! วันที่ 19 พฤษภาคม 2563 พบการตายเพิ่มของม้าในบางจังหวัด (สระบุรี จำนวน 1 ตัว) และจังหวัดในใหม่ (ฉะเชิงเทรา 2 ตัว และนครนายก 2 ตัว)

! วันที่ 21 พฤษภาคม 2563 พบการตายเพิ่มของม้าในบางจังหวัด (นครราชสีมา จำนวน 1 ตัว) และมีเขตพื้นที่ระบาดและเฝ้าระวังเพิ่มเติม

!! แต่ก็มีบางจังหวัดหรือบางพื้นที่ ที่จำนวนการตาย”ไม่” เพิ่มขึ้น เป็นเวลาอย่างต่อเนื่องเช่นกัน เช่น ชัยภูมิ ชลบุรี สระแก้ว ราชบุรี และ ประจวบคีรีขันธ์

!!! อย่างไรก็ตามควรตระหนัก ถึงการเฝ้าระวัง ป้องกันแมลงดูดเลือด กางมุ้ง และยังคงต้องงดการเคลื่อนย้ายโดดเด็ดขาด เพื่อให้ม้าทุกตัวปลอดภัย

!!!! จำนวนการใช้วัคซีนที่ปรากฏใน Info Graphic ดังกล่าว เป็นการใช้ในเขตพื้นที่เกิดโรคระบาด คือ 1. จุดเกิดโรค (Infected zone 20 km / วงไข่แดง) และ 2. พื้นที่ควบคุม (Protection zone 50 km /วงไข่ขาว) ตามมาตรการของกรมปศุสัตว์เท่านั้น (อัพเดทวันที่ 13 พฤษภาคม 63)

**หมายเหตุ**….
🐎📕 ม้าสีแดง- พื้นที่ที่มีม้าเสียชีวิตจากโรคระบาด African Horse Sickness Outbreak Area

🐎📒 ม้าสีเหลือง- พื้นที่ที่มีม้าเสียชีวิต และรอผลชันสูตร- พื้นที่ที่มีการเคลื่อนย้ายม้าจากจุดที่มีการแพร่ของโรคระบาด- พื้นที่ที่มีการตรวจสอบพบว่ามีการเคลื่อนย้ายม้าจากจุดแพร่ระบาดของโรค และยังอยู่ในระยะเฝ้าระวัง หากพ้นระยะเฝ้าระวัง(2-20 วัน)แล้ว ไม่มีการรายงาน การพบโรคระบาดในพื้นที่ดังกล่าว สัญลักษณ์ม้าสีเหลืองจะถูกนำออกจากแผนที่ แต่หากพบหรือมีผลการตรวจเป็นโรค AHS สัญลักษณ์ม้าจะถูกเปลี่ยนเป็นสีแดงทันทีSuspected Outbreak Areaข้อมูล: กรมปศุสัตว์ /สโมสร ชมรมกีฬาขี่ม้าแห่งประเทศไทย / กลุ่มผู้เลี้ยงม้า **Remark** (updated and published on 22 May 2020

สถานการณ์การระบาดของโรคระบาด”กาฬโรคในม้า (African Horse Sickness)” ประจำวันที่ 16 พฤษภาคม 2563

โดยมีรายระเอียดเป็นข้อสรุปดังนี้

! วันนี้ยังพบการตายเพิ่มของม้าในบางจังหวัด (เพชรบุรีจำนวน 1 ตัว และสระบุรี จำนวน 3 ตัว) และมีเขตพื้นที่ระบาดและเฝ้าระวังเพิ่มเติม

!! แต่ก็มีบางจังหวัดหรือบางพื้นที่ ที่จำนวนการตาย”ไม่” เพิ่มขึ้น เป็นเวลาอย่างต่อเนื่องเช่นกัน เช่น ชัยภูมิ ชลบุรี สระแก้ว ราชบุรี และ ประจวบคีรีขันธ์

!!! อย่างไรก็ตามควรตระหนัก ถึงการเฝ้าระวัง ป้องกันแมลงดูดเลือด กางมุ้ง และยังคงต้องงดการเคลื่อนย้ายโดดเด็ดขาด เพื่อให้ม้าทุกตัวปลอดภัย

!!!! จำนวนการใช้วัคซีนที่ปรากฏใน Info Graphic ดังกล่าว เป็นการใช้ในเขตพื้นที่เกิดโรคระบาด คือ 1. จุดเกิดโรค (Infected zone 20 km / วงไข่แดง) และ 2. พื้นที่ควบคุม (Protection zone 50km /วงไข่ขาว) ตามมาตรการของกรมปศุสัตว์เท่านั้น (อัพเดทวันที่ 13 พฤษภาคม 63)

**หมายเหตุ**….
🐎📕 ม้าสีแดง- พื้นที่ที่มีม้าเสียชีวิตจากโรคระบาด African Horse Sickness Outbreak Area

 🐎📒 ม้าสีเหลือง
– พื้นที่ที่มีม้าเสียชีวิต และรอผลชันสูตร
– พื้นที่ที่มีการเคลื่อนย้ายม้าจากจุดที่มีการแพร่ของโรคระบาด
– พื้นที่ที่มีการตรวจสอบพบว่ามีการเคลื่อนย้ายม้าจากจุดแพร่ระบาดของโรค และยังอยู่ในระยะเฝ้าระวัง หากพ้นระยะเฝ้าระวัง(2-20 วัน)แล้ว ไม่มีการรายงาน การพบโรคระบาดในพื้นที่ดังกล่าว สัญลักษณ์ม้าสีเหลืองจะถูกนำออกจากแผนที่ แต่หากพบหรือมีผลการตรวจเป็นโรค AHS สัญลักษณ์ม้าจะถูกเปลี่ยนเป็นสีแดงทันที
Suspected Outbreak Area

ข้อมูล: กรมปศุสัตว์ /สโมสร ชมรมกีฬาขี่ม้าแห่งประเทศไทย / กลุ่มผู้เลี้ยงม้า **Remark** (updated and published on 17 May 2019

ประชาสัมพันธ์ “แผนปฏิบัติการกำจัดโรคกาฬโรคแอฟริกาในม้า (African Horse Sickness : AHS)

ประชาสัมพันธ์ “แผนปฏิบัติการกำจัดโรคกาฬโรคแอฟริกาในม้า (African Horse Sickness; AHS) เพื่อคืนสถานภาพปลอดโรคจากองค์การโรคระบาดระหว่างประเทศของประเทศไทย” จากกรมปศุสัตว์ เพื่อให้การดำเนินการฉีดวัคซีนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไปในแนวทางเดียวกัน ซึ่งมีเอกสารดังนี้

1. แผนปฏิบัติการกำจัดโรคกาฬโรคแอฟริกาในม้า (African Horse Sickness; AHS) เพื่อคืนสถานภาพปลอดโรคจากองค์การโรคระบาดระหว่างประเทศของประเทศไทย”

2. ประกาศกรมปศุสัตว์ เรื่องกำหนดลักษณะการป่วยหรือตายของม้า ม้าลาย ลา ล่อ หรืออูฐ เพื่อการป้องกันและควบคุมโรคกาฬโรคแอฟริกาในม้า พ.ศ. 25633. ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดสัตว์ชนิดอื่นตามพระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2563แผนปฏิบัติการกำจัดโรคกาฬโรคแอฟริกาในม้า (African Horse Sickness; AHS) มีความสำคัญและเป็นประโยชน์ต่อสมาชิกชมรมและสโมสรของสมาคมกีฬาขี่ม้าแห่งประเทศไทย จึงขอความร่วมมือจากท่าน โปรดให้ความสำคัญต่อแนวทางการปฏิบัตินี้ เพื่อเป็นประโยชน์สูงสุดต่อสมาชิกทุกท่านหมายเหตุ หนังสือรับเข้า สมาคมกีฬาขี่ม้าแห่งประเทศไทย ลงวันที่ 14 พฤษภาคม 2563